X

อาหารภาคกลาง อาหารพื้นบ้านของไทย กับข้าวง่ายๆ อาหารไทย 4 ภาค

อาหารภาคกลาง อาหารไทยพื้นเมืองของภาคกลาง เอกลักษณ์อาหารไทยภาคกลาง หลากหลาย ทั้งเมนูน้ำพริก เมนูกะทิ เมนูผักสด เมนูปลา ครัวไทยมีอะไรบ้าง ทำกินเองที่บ้านได้


รวมสูตรอาหารประจำภาคกลาง อาหารท้องถิ่นภาคกลางมีอะไรบ้าง เมนูอาหารไทยภาคกลาง สูตรอาหารไทย สอนทำอาหาร เมนูน้ำพริก กะทิ ผักสด ปลา หมู เห็ด เป็ด ไก่ ครัวภาคกลางมีอะไรบ้าง

ยำไข่ดาว
ปลาหมึกผัดไข่เค็ม
ผัดผักบุ้งไฟแดง
แกงป่าปลาช่อน
ปลาดุกผัดพริกหยวก
ไก่ทอดขิง
กะปิหลน
น้ำพริกปลาสลิด
ก๋วยเตี๋ยวเรือ
ยำหอยนางรม
ซุปรากบัว
หมูผัดพริกไทยดำ
ขนมปังหน้าหมู
ต้มยำกุ้ง
ทอดมันกุ้ง
ยำไส้กรอก
หมูปิ้ง
ผัดเปรี้ยวหวานไก่
ไก่ทอดกระเทียมพริกไทย
แกงคั่วหมูเทโพ
ไข่เจียวใบโหระพา
ไข่พะโล้
กุ้งอบวุ้นเส้น
หมูสับนึ่งไข่เค็ม
ปลานิลนึ่งเต้าซี่
ไก่ผัดขิง
แกงจืดสับปะรดซี่โครงหมู
ซี่โครงหมูอบตะไคร้
ปอเปี๊ยะกุ้ง
ข้าวผัดอเมริกัน
ต้มข่าไก่
ต้มยำปลาช่อนใบมะขามอ่อน
ข้าวผัดแกงเขียวหวาน
พาสตาต้มยำไก่
ปลาจะละเม็ดทอดราดซอส
ผัดกระเฉดไก่
ผัดเผ็ดหมู
ทอดมันปลากราย
แกงเผ็ดเป็ดย่าง
แกงเขียวหวานไก่
กระเพราไก่
กุ้งผัดพริกนมสด
ยำคะน้ากุ้งสด
แกงเลียงกุ้งสด
หอยลายผัดพริกเผา
ยอดตำลึงชุบแป้งทอด
ปลาช่อนผัดคื่นช่าย
ซี่โครงหมูหวาน
แกงจือดเต้าหู้หมูสับ
ไข่คั่วกุ้ง
กุ้งนึ่งไข่นมสด
ซี่โครงหมูอบตะไคร้
ผัดพริกแกงไก่
น้ำพริกสุโขทัย
น้ำพริกขี้กา
กุ้งผัดไข่
ผัดกระเพราไข่เยี่ยวม้า
ปลาช่อนลุยสวน
ปลากระพงนึ่งมะนาว
ทอดมันห่อไข่
ต้มยำปลาช่อนใบมะขามอ่อน
ปลาเนื้ออ่อนราดพริก
ไก่กะปิ
ไข่ลูกเขย
ไข่เจียวกระเทียมดอง
สังขยาใบเตย
ไข่เจียวหมูสับหน่อไม้
ปลาบึกผัดฉ่า
ผัดเผ็ดปลาดุก
น้ำพพริกมะขามเปียก
ยำปลาดุกฟู
แกงส้มชะอมไข่
ปีกไก่ทอดน้ำแดง
ข้าวหน้าไก่
เต้าหู้คลุกไข่ทอด
กุ้งผัดผงกะหรี่
ไข่หุ้มหมู
ไข่ทรงเครื่อง
ไก่ต้มน้ำปลา
ปีกไก่ทอดตะไคร้
น้ำพริกปลาป่น
น้ำพริกกล้วยดิบ
ยำหูหมู
ซี่โครงหมูทอดสามรส
แกงคั่วมะระปลาดุก
ข้าวผัดเบญจรงค์
กุ้งทอดราดพริก
ยำไข่เจียวน้ำพริกเผา
ยำชะอมทอดกรอบ
ผัดกระเพราวุ้นเส้นหมูสับ
น้ำพริกมะเขือพวง
ตับหมูผัดพริกไทยดำ
ปลาอินทรีย์ทอดราดน้ำปลา
ไก่ห่อใบเตย
ข้าวผัดปลากระป๋อง
ผัดกระเพราหมูสับ
ซี่โครงหมูทอดสามรส
ผัดต้นอ่อนทานตะวัน
กะหล่ำปลาทอดน้ำปลา
มะละกอผัดวุ้นเส้น
ข้าวต้มกุ้ง
แกงจืดเต้าหู้ไข่ม้วน
ข้าวอบปลาเค็ม
กุ้งกระจก
หัวปลาหม้อดิน
เนื้อตุ๋นหม้อดิน
ผัดเปรี้ยวหวานหมู
เป็ดพะโล้
กระเพราปลาน้ำแดง
ปลากระพงนึ่งซีอิ้ว
ปลากระพงทอดน้ำปลา
ข้าวหมูอบ
ไข่ตุ๋นนมสด
ข้าวหมูแดง
ปลากระพงผัดพริกไทยดำ
ยำปลาแซลมอน
น้ำพริกปลาย่าง
น้ำพริกกะปิ
ขนมจีนน้ำยาป่า
ส้มตำไข่ฟู
ปีกไก่คั่วพริกเกลือ
ข้าวผัดปู
หมูทอด
ห่อหมกมะพร้าวอ่อน
หลนปู
แกงป่าหมู
ต้มยำขาหมู
ขนมจีนน้ำยากะทิ
ปูผัดพริกไทยดำ
ข้าวมันส้มตำไทย
ข้าวผัดน้ำพริกกะปิ
ข้าวผัดหมูแดง
ปลาสลิดผัดพริกแกง
ต้มโคล้งทะเล
ไข่เจียวต้นอ่อนทานตะวัน
ข้าวผัดต้มยำกุ้ง
หมูต้มใบชะมวง
ต้มเค็มฟักหมูสามชั้น
ข้าวเหนียวปิ้งหน้ากุ้ง
ต้มยำกุ้ง
ห่อหมกปลาหมึก
แกงเขียวหวานหมู
หมูสามชั้นทอดพริกแกง
ปูผัดพริก
ต้มยำกุ้งน้ำค้น
ต้มยำไข่เจียว
แกงป่าปลาช่อน
น้ำพริกกุ้งปุ่น
ต้มยำเห็ดรวม
ต้มยำปลช่อน
ต้มยำรวมมิตร
หมูทอดกะปิ
ปูทอดกระเทียมพริกไทย
หมูโสร่ง
แกงเขียวหวานทะเล
หอมหัวใหญ่ชุบแป้งทอด
ห่อหมกทะเล
น้ำพริกขี้กา
หมูผัดไข่
ผัดกระเพรากุ้ง
ผัดกระเพราปลาหมึก
มาม่าต้มยำแห้ง
มาม่าต้มยำ
ผัดกระเพราหมูกรอบ
ผัดกระเพราเป็ด
หอยทอด
ปลาดุกหมกกะปิ
ยำสตรอว์เบอร์รี่กุ้งสด
ข้าวผัดหมูลิ้นจี่
ข้าวผัดน้ำพริกเผา
ข้าวผัดมันกุ้ง
ข้าวผัดกุุ้ง
ข้าวผัดต้มยำ
ปลาหิมะผัดผงกะหรี่
น้ำพริกเต้าหู้ยี้ น้ำพริกกากหมู
น้ำพริกกลางดง น้ำพริกตาแดง
น้ำพริกระกำ น้ำพริกพริกไทยสด
น้ำพริกหมูกรอบ หลนเต้าเจี้ยว
น้ำพริกตะไคร้ น้ำพริกผัดทูน่า

ภาคกลางของประเทศไทย มีเขตการปกครองทั้งหมด 22 จังหวัด ภาคกลางของประเทศไทย เป็นที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ เป็นแหล่งเพาะปลูกข้าวที่สำคัญของประเทศ โดยมีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นเลือดใหญ่ นอกจากข้าวยังมีพืชผักอื่นๆอีกแทบทุกชนิด ภาคกลาง นับได้ว่าเป็นภาคที่มีความอุดมสมบูรณ์มากกว่าภาคอื่นๆ ถือได้ว่าภาคกลางเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากสภาพทางภูมิประเทศที่เป็นที่ราบลุ่ม ลักษณะเด่นของอาหารพื้นบ้านของภาคกลาง จะมีความหลายหลาย ซึ่งอาหารภาคได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศมากและนิยมการประดิษฐ์จานอาหารให้น่ารับประทานโดยเฉพาะอาหารชาววัง และอีกหนึ่งเอกลักษณ์ของอาหารในภาคกลาง คือ เครื่องเคียง

อาหารภาคกลาง คือ อาหารไทย อาหารพื้นเมือง อาหารภาคกลางมีอะไรบ้าง เอกลักษณ์ของอาหารพื้นเมือง ภาคกลาง ความหลากหลายของรสชาติ เมนูน้ำพริก เมนูกะทิ เมนูผักสด เมนูปลา เมนูหมู เมนูเห็ด เมนูเป็ด เมนูไก่ ครัวภาคกลาง เรียก ครัวไทย สามารถทำกินเองที่บ้านได้ ภาคกลางของประเทศไทย เป็นพื้นที่ที่มีภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มมี 3 ฤดู มีความสมบูรณ์ทางอาหาร ทำอาชีพหลักของคนภาคกลางจะเป็นเกษตรกร ทุกครัวเรือนจะนิยมทำอาหารกินเอง อีกทั้งภาคกลางเป็นพื้นที่ของเมืองหลวง ประชากรในพื้นที่มีการส่งบุตรหลานเข้าวัง เรียนรู้งานต่างๆ ลักษณะความปราณีตของอาหาร ความหลายหลายในการปรุงรสชาติ จึงมีให้เห็นในอาหารภาคกลาง

อาหารภาคกลาง เป็นอาหารที่มีลักษณะผสมผสานกันหลายรส เรียกว่าครบรส ไม่ว่าจะเป็น เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม และเผ็ด มากมายไปด้วยเครื่องเทศ สมุนไพรนานาชนิด และกะทิ ที่เพิ่มความมัน อาหารภาคกลาง ค่อนข้างจะเป็นอาหารที่ ถูกปากชาวต่างชาติเสมอ ไม่ว่าจะเป็น แกงเขียวหวาน ผัดไท ต้มยำ เป้นต้น อาหารของภาคกลาง เมนูเด่นอร่อยๆ หลากหลายเมนูไม่ว่าจะเป็น ต้ม ผัด แกง ทอด นึ่ง ปิ้งย่าง เราได้นำมาแนะนำให้ท่าน พร้อมด้วยส่วนผสมและขั้นตอนการทำอย่างละเอียด อ่านเข้าใจง่าย และยังมีเคล็ดต่างๆ ที่ทำให้รสชาติของอาหาร แตกต่างจากคนอื่นๆอย่างถึงใจ

ความสำคัญของอาหารภาคกลาง

อาหารไทยของคนภาคกลาง มีคุณค่าทางอาหารสูง และ ยังเป็นดัชนีชี้วัด ความเจริญทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ สังคม ของพื้นที่ภาคกลางของไทย ภาคกลางมีชนชาติต่างๆหลากหลายมาอาศัยในพื้นที่นี้ การถ่ายทอดความรู้ การพัฒนาความรู้ จึงเป็นการแสดงถึงความเจริญของประเทศไทยด้วย

ลักษณะของอาหารท้องถิ่นของภาคกลาง

เราสามารแบ่งลักษณะของอาหารท้องถิ่นของภาคกลางได้ ตามลักษณะต่างๆ ประกอบด้วย รสชาติ ลักษณะหน้าตาของอาหาร กลิ่นและสี และเครื่องเคียง โดยรายละเอียด ดังนี้

  • รสชาติ อาหารภาคกลาง โดยทั่วไปจะมี 3 รสชาติ หลักๆ คือ หวาน เค็ม และ เปรี้ยว จะมีรสชาติ เผ็ด มัน และ ขม บ้างในบาง เมนูอาหาร
  • หน้าตาของอาหาร ลักษณะของอาหารภาคกลาง เป็นพื้นที่ทีมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งของเมืองหลวง อาหารจะมีการประดิษฐ์ประดอย การตกแต่งอาหาร ให้มีความสวยงาม
  • กลิ่นและสีของอาหารภาคกลาง กลิ่นอาหารนั้นจะหอม จากพริกแกง ซึ่งเป็นเครื่องเทศที่มีสมุนไพรต่างๆ มากมาย
  • เครื่องเคียงของอาหารภาคกลาง ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของท้องถิ่น อาหารจึงนิยมทานคู่กับผักสดต่างๆ มากมาย จึงเป็นลักษณะที่เห็นได้ถึงความเด่นชัด

การปรุงอาหารและการตกแต่งจานให้สวยงาม เป็นลักษณะเด่นของอาหารภาคของกลาง ซึ่งภาคกลางของประเทศไทย เป็นภูมิภาคที่มีจังหวัดน้อยใหญ่จำนวนมาก ภาคกลางเป็นภูมิภาค ที่มีพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ จึงมีความอุดมสมบรูณ์ทางอาหาร ภาคกลางจึงมีความหลากหลายของอาหารมากมาย

อาหารภาคกลาง นั้นเป็นอาหารที่มีความหลากหลายทางด้านรสชาติ และมีการใช้กะทิและเครื่องแกงมากที่สุด อาหารของภาคกลาง เมนูเด่นๆ อร่อยๆ หลากหลายเมนู เช่น เมนูต้ม เมนูผัด เมนูแกง เมนูทอด เมนูปิ้งย่าง น้ำพริก ต่างๆ จะมีส่วนผสม ที่เป็นเอกลักษณ์ของภาคกลาง เข้าใจง่าย

เนื้อหาอื่นๆที่น่าสนใจ

แหล่งอ้างอิง

  • คณะกรรมการเฉพาะกิจจัดทำหนังสือเมืองไทยของเรา เล่ม 2. (2535) เมืองไทยของเรา ฉบับที่สอง. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. ISBN 974-7771-27-6. หน้า 45.
  • Sukphisit, Suthon (22 September 2019). “Curry extraordinaire”. Bangkok Post. No. B Magazine. สืบค้นเมื่อ 22 September 2019.
  • Tim Cheung (2017-07-12). “Your pick: World’s 50 best foods”. CNN. สืบค้นเมื่อ 2018-05-05.
  • “อาหารไทย การสั่งสมและถ่ายทอดมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน”. อร่อยดี รีวิว. 2024-01-25.
  • ม.ร.ว. ถนัดศรี สวัสดิวัฒน์. ไทยรัฐ 2 กันยายน 2552