แกงบวดฟักทอง วิธีทำแกงบวดฟักทองทำอย่างไร ขนมง่ายๆ ทำกินเองได้ ขนมไทย มีฟักทองเป็นวัตถุดิบหลัก เมนูฟักทอง เมนูกะทิ ฟักทองทำอะไรกินได้บ้าง ฟักทองทำอะไรกินดี
อาหารไทย เมนูอาหาร สำหรับวันนี้ นำเสนอ ขนมหวาน แบบง่ายๆ คือ แกงบวดฟักทอง ฟักทองที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง นำมาต้มกับน้ำกะทิหวานๆ เป็น ขนมไทย ที่อร่อย สามารถกินได้ทุกฤดูกาล เคล็ดลับการทำแกงบวดฟักทอง คือ วัตถุดิบคุณภาพ เทคนิคการเตรียมอาหาร และ การปรุงรสชาติ
แกงบวดฟักทอง ส่วนผสมและขั้นตอนการทำอาหารเข้าใจง่าย เหมาะสำหรับคนรักการทำอาหาร เมนูแกงกะทิ
ส่วนผสมสำหรับทำกล้วยบวดฟักทอง
- ฟักทอง 1 จาน ปลอกเปลือกและหั่นเป็นชิ้นพอดีคำ
- หางกะทิ 1 ถ้วย
- หัวกะทิ 1 ถ้วย
- เม็ดสาคู 1 ถ้วย
- น้ำตาลทราย 5 ช้อนโต้ะ
- น้ำตาลปี๊บ 2 ช้อนโต้ะ
- เกลือ 1 ช้อนโต้ะ
- ใบเตย 3 ใบ
วิธีทำกล้วยบวชชี
- นำเม็ดสาคูไปแช่น้ำ ให้สาคูอิ่มน้ำจากนั้นนำเม็ดสาคูลงไปต้ม ให้สุกก่อน และ นำมาแช่น้ำเย็นพักเอาไว้ก่อน
- เตรียมน้ำกะทิ โดยนำ หัวกะทิ ใบเตย และ หางกะทิ ลงไปต้ม ให้ร้อน
- จากนั้น ปรุงรสด้วย น้ำตาลปี๊บ น้ำตาลทราย และ เกลือ ลงไป ปิดไฟ และ ปล่อยให้น้ำตาลละลาย จากนั้นพักเอาไว้ก่อน
- ตั้งหม้อต้มน้ำให้เดือด จากนั้นนำฟักทองลงไปต้ม ต้มให้ฟักทองสุกได้ที่ ก็นำมาพักให้เย็น
- นำน้ำกระทิปรุงรส อุ่นให้ร้อน ใส่ สาคูต้ม และ ฟักทอง ลงไป ต้มให้ร้อน โดยไม่ต้องคลน เมื่อแกงบวดร้อนได้ที่ ให้ปิดไฟ
- เสริฟใส่ถ้วย พร้อมรับประทานได้
เคล็ดลับการทำกล้วยบวดชี
- การเลือกกะทิ ต้องเป็น กะทิคั้นสด ผสมกันในอัตราส่วน หัวกะทิ 1 ส่วน หางกะทิ 3 ส่วน ใส่เกลือเพื่อช่วยตัดความมันของกะทิ ซึ่งการที่ไม่แนะนำให้ใช้กะทิสำเร็จ เนื่องจากรสชาติและความหวานมันแบบธรรมชาติมันต่างกัน
- การเลือกฟักทอง ให้เลือกฟักทองที่สดใหม่ ผิวฟักทองไม่สกปรก ขั้วฟักทองยังติดอยู่ เนื้อแน่น แข็ง
- สำหรับการเตรียมฟักทอง ให้ปลอกเปลือก ล้างให้สะอาด และ นำไปต้มให้สุกก่อน เพื่อจะสามารถควบคุมความสุกของฟักทอง พร้อมกับน้ำกะทิที่ไม่แตกมันได้
- สำหรับการทำแกงบวด ให้ปรุงรสของกะทิให้เสร็จก่อน จึงจะใส่ฟักทองลงไป
- น้ำตาลสำหรับนำมาต้มกะทิ ใช้ น้ำตาลทรายและน้ำตาลปี๊บ ผสมกัน จะได้ความหวานที่กลมกล่อม
- เม็ดสาคู ก่อนนำมาต้มให้นำไปแช่น้ำก่อน และ นำไปต้มต่างหาก จะทำให้เราสามารถควบคุมความสุกของสาคูได้
nlovecooking.com รวบรวมสูตรอาหารต่างๆ เมนูอาหารที่เราอยากนำเสนอให้เพื่อนๆสำหรับคยต้องการทำอาหาร ซึ่งเน้นรายละเอียด ส่วนผสม วิธีทำ และ เคล็ดลับในการทำอาหารต่างๆ ซึ่งมีสูตรอาหารต่างๆ เช่น อาหารไทย อาหารจีน อาหารญี่ปุ่น และ อาหารเวียดนาม โดยการแยกสูตรอาหารต่างๆตามเทคนิคการทำอาหาร และ วััตถุดิบในการทำอาหาร เช่น เมนูผัด เมนูแกง เมนูทอด เมนูปิ้งย่าง เมนูนึ่ง เมนูตุ๋น เมนูยำ เมนูหมู เมนูไก่ เมนูปลา เมนูกุ้ง เมนูปลาหมึก เมนูไข่ รวมถึง น้ำจิ้ม น้ำพริก ขนมไทย อาหารเจ และ เครื่องดื่ม สำหรับสูตรอาหารที่เรานำเสนอ เราได้ทดสอบ ลองชิมรสชาติว่าอร่อยแล้ว แต่ความอร่อยของคนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ท่านจำเป็นต้องนำเอาไปปรับปรุงรสชาติให้ได้รสชาติที่ถูกใจท่านเอง สำหรับความอร่อยของอาหารแต่ละประเภทมีหลักการอยู่ง่ายๆ คือ หนึ่งวัตุถุดิบต้องมีคุณภาพ ความสด ความใหม่ของวัตถุดิบต่างๆมีความสำคัญ สองเทคนิคการเตรียมอาหาร ความเข้าใจในธรรมชาติของวัตถุดิบที่นำมาทำอาหาร อะไรสุกง่าย อะไรสุกยาก รสชาติพื้นฐานของวัตถุดิบนั้นๆ และ สามการปรุงรสชาติ ซึ่งการปรุงรสชาติสำคัญที่สุด รสชาติของอาหารที่จะอร่อยหรือไม่อยูู่ที่การปรุงรสให้ถูกปาก เราหวังว่าท่านจะประทับใจในสูตรอาหารต่างๆที่เรานำเสนอนี้
ขนมไทย เป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมด้านอาหาร ซึ่งความละเอียดอ่อนช้อยความประณีตตั้งแต่การเลือกสรรวัตถุดิบ วิธีการทำ การปรุงรสชาติ สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ที่ชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีที่ประณีตบรรจงต่าๆ ขนมไทย ส่วนใหญ่ทำมาจากข้าวและใช้ส่วนประกอบอื่นๆ เช่น สี ภาชนะ กลิ่นหอมจากธรรมชาติ ข้าวที่ใช้ในขนมไทยมีทั้งข้าวแบบเม็ดและข้าวที่อยู่ในรูปแป้ง นอกจากนั้นยังมีวัตถุดิบอื่นๆ เช่น มะพร้าว ไข่ น้ำตาล ขนมไทยมีส่วนร่วมในวิถีชีวิตไทยในทุกเทศกาลและโอกาสต่างๆ แสดงให้เห็นถึงความผูกพันและเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ขนมที่ใช้ในงานเทศกาลและพิธีกรรมต่างๆของไทยตลอดทั้งปี ขนมไทยยั้งได้รับอิทธิพลจากขนมของชาติอื่น มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นและวัตถุดิบที่หาได้ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนการบริโภคแบบไทย จนทำให้คนรุ่นหลัง แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมที่เป็นไทยแท้ และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมของชาติอื่นเป้นอย่างไร เช่น ขนมที่ใช้ไข่และขนมที่ต้องเข้าเตาอบ ซึ่งเข้ามาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากคุณท้าวทองกีบม้าภรรยาเชื้อชาติญี่ปุ่น-โปรตุเกสของเจ้าพระยาวิชเยนทร์ ผู้เป็นกงสุลประจำประเทศไทยในสมัยนั้น ไทยมิใช่เพียงรับทองหยิบ ทองหยอด และฝอยทองมาเท่านั้น หากยังให้ความสำคัญกับขนมเหล่านี้โดยใช้เป็นขนมมงคลอีกด้วย ส่วนใหญ่ตำรับขนมที่ใส่ไข่มักเป็น ขนมจากต่างประเทศ เช่น ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอดจากโปรตุเกส ฟักทองสังขยาเป็นหนึ่งในขนมไทย ทีมีส่วนผสมของฟักทองนึ่งใส่สังขยา
แกงบวดฟักทอง คือ ขนมไทย ประเภทขนมกะทิ โดยมีฟักทอง เป็นวัตถุดิบหลัก วิธีทำแกงบวดฟักทอง ง่ายๆ สามารถทำกินเองที่บ้านได้ เมนูฟักทอง เมนูกะทิ อร่อยๆ ฟักทองทำอะไรกินได้บ้าง มีฟักทองทำอะไรกินดี
แหล่งอ้างอิง
- https://th.wikipedia.org/wiki/ขนมไทย สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2567
- ตำราขนมหวาน. กทม. แสงแดด. 2539
- ส. พลายน้อย. เกร็ดย่อยร้อยเรื่อง. กทม. ดอกหญ้า. 2537
- วรดุลย์ ตุลารักษ์. วัฒนธรรมอาหารการกิน:ขนมไข่เหี้ย. ครัว. 4 (37) :88 – 89 กรกฎาคม 2540
- อบเชย อิ่มสบาย, บก. ตำรับขนมไทย. กทม. แสงแดด. 2539
- ฆนนกาล มาตยศิริ. กล้วยในขนมไทย. วัฒนธรรมไทย. 36 (4) : 16 -17, มกราคม 2542
- เฟื่อฟ้า เปียจำปา. อาหารคนเมือง ใน เชียงใหม่ หน้า 236 – 237. สุดารา สุจฉายา , บก. กทม. สารคดี. 2540
- ปาริชาติ เรืองวิเศษ. บก., แม่ฮ่องสอน. กทม. สารคดีม. 2536
- ยูร กมลเสรีรัตน์. ขนมอีสานเมื่อวันวาร. วัฒนธรรมไทย. 36 (4) : 42 – 43 มกราคม 2542
- ปาริชาติ เรืองวิเศษ. อาหารพื้นเมืองเลย. ใน เลย หน้า 173. สุดารา สุจฉายาม บก. กทม. สารคดี. 2539
- สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้. กทม. สถาบันทักษิณคดีศึกษา. 2523
- วันดี ณ สงขลา. อาหารไทยในวรรณคดี เล่ม 2. กทม. ผลิตภัณฑ์การพิมพ์. 2527