ขนมทองหยอด วิธีทำทองหยอดทำอย่างไร ขนมง่ายๆทำกินเองได้ ขนมไทย นิยมใช้ในงานมงคลต่างๆใช้ในขันหมาก เคล็ดลับการทำขนมมีอะไรบ้าง ขนมไทยโบราณ ได้รับอิทธิพลจากโปตุเกส
ขนมไทยยอดนิยม เมนูอาหาสำหรับวันนี้ ขอนำเสนอ ขนมไทย ขนมตระกูลทอง คือ ขนมทองหยอด เคล็ดลับความอร่อยสำหรับเมนูนี้ อยู่ที่ วัตถุดิบคุณภาพ เทคนิคการเตรียมอาหาร และ การปรุงรสชาติ แป้งผสมไข่แดง หยอดลงไปต้มในน้ำเชื่อม จะได้เม็ดไข่ต้มหวานๆ ขนมที่ทำจากไข่แดง ลักษณะ
ขนมทองหยอด ขนมไทยง่ายๆ ส่วนผสมและขั้นตอนการทำ เข้าใจงา่ย เหมาะสำหรับคนรักการทำอาหาร เมนูไข่
ส่วนผสมสำหรับทำทองหยอด
- ไข่แดงของไข่เป็ด 20 ฟอง แยกเอาเฉพาะไข่แดง
- น้ำตาลทราย 3 ถ้วย
- น้ำลอยดอกมะลิ 2 ถ้วยตวง
- แป้งข้าวเจ้า 10 ถ้วย
วิธีทำทำทองหยอด
- เตรียมน้ำลอยดอกมะลิ โดย นำน้ำสะอาดแช่ดอกมะลิ ก่อน หนึ่งคืน โดยเคล็ดลับของการทำน้ำลอยดอกมะลิ อยู่ที่ ต้องเด็ดดอกมะลิตอนกลางคืน จะให้น้ำกลิ่นหอมดอกมะลิ
- จากนั้น ทำแป้งสำหรับหยอดขนม โดยนำไข่แดงตีจนไข่ขึ้นฟู จากนั้นให้ใส่แป้งข้าวเจ้าลงไป ตีแป้งกับไข่ต่อให้เข้ากันนำมาพักเอาไว้ก่อน รอน้ำเชื่อมก่อน
- ทำน้ำเชื่อม โดยการใช้ น้ำลอยดอกมะลิที่ทำเอาไว้แล้ว มากรองให้สะอาด ใส้น้ำตาลทรายลงไปเคี้ยวให้หวาน เป็นน้ำเชื่อม เคี้ยวด้วยไฟอ่อนๆ เมื่อได้ที่จะทำการหยอดไข่
- ทำการหยอดแป้ง โดย ค่อยๆ หยอดแป้งให้เป้นลักษณะของหยดน้ำ ต้มไปเรื่อยๆ ไข่จะลอยขึ้นมา แสดงว่าได้ที่ ก้ให้นำเม็ดทองหยอขึ้นมา เท่านี้ก็จะได้ ขนมไทย แสนจะง่าย
เคล็ดลับการทำขนมทองหยอด
- เทคนิคการทำน้ำลอยดอกมะลิ ให้เลือกใช้น้ำสะอาด ความสำคัยอยู่ที่ ดอกมะลิที่นำมาลอยน้ำ ให้เลือกใช้ดอกมะลิสดๆ เด้ดตอนกลางคืน เนื่องจากดอกมะลิจะให้กลิ่นหอมเวลากลางคืน
- สำหรับหากไม่มีน้ำลอยดอกมะลิ ให้ใช้ใบเตยต้มน้ำและน้ำตาลแทน จะได้น้ำเชื่อมกลิ่นใบเตย
- ไข่สำหรับนำมาทำขนม ต้องเป็นไข่เป็ด เลือกเฉพาะไข่แดง ความอร่อยของขนมอยู่ที่เทคนิคการตีไข่แดง ต้องตีไข่แดงให้ขึ้นฟู มีฟองอากาศอยู่ในไข่จึงจะได้ขนมที่ฟูเนื้อเนียน
- แป้งข้าวจ้าว หากสามารถใช้ข้าวสารโม้แป้งแบบสดๆ ได้จะดีที่สุด เนื่องจากจะได้แป้งเนื้อเนียน แต่หากไม่สามารถหาได้ ก็ให้ใช้แป้งข้าวจ้าว แต่เมื่อนำมาผสมกับไข่แดงแล้ว ให้พักไว้สัก 1 ชั่วโมง เพื่อให้แป้งละลายและเซ็ตตัว
nlovecooking.com รวบรวมสูตรอาหารต่างๆ เมนูอาหารที่เราอยากนำเสนอให้เพื่อนๆสำหรับคยต้องการทำอาหาร ซึ่งเน้นรายละเอียด ส่วนผสม วิธีทำ และ เคล็ดลับในการทำอาหารต่างๆ ซึ่งมีสูตรอาหารต่างๆ เช่น อาหารไทย อาหารจีน อาหารญี่ปุ่น และ อาหารเวียดนาม โดยการแยกสูตรอาหารต่างๆตามเทคนิคการทำอาหาร และ วััตถุดิบในการทำอาหาร เช่น เมนูผัด เมนูแกง เมนูทอด เมนูปิ้งย่าง เมนูนึ่ง เมนูตุ๋น เมนูยำ เมนูหมู เมนูไก่ เมนูปลา เมนูกุ้ง เมนูปลาหมึก เมนูไข่ รวมถึง น้ำจิ้ม น้ำพริก ขนมไทย อาหารเจ และ เครื่องดื่ม สำหรับสูตรอาหารที่เรานำเสนอ เราได้ทดสอบ ลองชิมรสชาติว่าอร่อยแล้ว แต่ความอร่อยของคนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ท่านจำเป็นต้องนำเอาไปปรับปรุงรสชาติให้ได้รสชาติที่ถูกใจท่านเอง สำหรับความอร่อยของอาหารแต่ละประเภทมีหลักการอยู่ง่ายๆ คือ หนึ่งวัตุถุดิบต้องมีคุณภาพ ความสด ความใหม่ของวัตถุดิบต่างๆมีความสำคัญ สองเทคนิคการเตรียมอาหาร ความเข้าใจในธรรมชาติของวัตถุดิบที่นำมาทำอาหาร อะไรสุกง่าย อะไรสุกยาก รสชาติพื้นฐานของวัตถุดิบนั้นๆ และ สามการปรุงรสชาติ ซึ่งการปรุงรสชาติสำคัญที่สุด รสชาติของอาหารที่จะอร่อยหรือไม่อยูู่ที่การปรุงรสให้ถูกปาก เราหวังว่าท่านจะประทับใจในสูตรอาหารต่างๆที่เรานำเสนอนี้
ขนมไทย วัฒนธรรมด้านอาหารของคนไทย มีความละเอียดอ่อนช้อย ความประณีตตั้งแต่การเลือกสรรวัตถุดิบ วิธีการทำ การปรุงรสชาติ การแต่งสีสันและรูปลักษณ์ที่ชวนรับประทาน ส่วนใหญ่แล้วขนมไทยนิยมทำมาจากข้าว ซึ่งอาจจะอยู่ใรรูปแบบข้าวเป็นเม็ดหรือแป้งก็ได้ และมีส่วนประกอบอื่นๆ เช่น การแต่งสีและกลิ่นขนมจากวัตถุดิบที่หาได้ตามธรรมชาติ ขนมไทยจะมีส่วนร่วมในวิถีชีวิตของคนไทยมาช้านานในทุกประเพณีในสังคม แสดงให้เห็นถึงความผูกพันของขนมและคนอย่างลึกซึ้ง ขนมไทยถูกใช้ในงานเทศกาลและพิธีกรรมต่างๆตลอดทั้งปี นอกจากนี้ขนมไทยยังได้รับอิทธิพลจากขนมของนานาชาติที่เข้ามาอยูในไทย จนเกิดเป็นขนมใหม่ๆซึ่งไม่ามารถแยกได้วว่าอันไหนเป้นขนมไทยหรือต่างชาติ ขนมไทยโบราณ จะใช้การเชื่อม การทอด การนึ่ง หรือ การต้ม เป็นหลัก ขนมทองหยอดก็เป็นหนึ่งในเมนูขนมไทย
ขนมทองหยอด ขนมตระกลูทอง ขนมไทยตั้งแต่ สมัยอยุธยา รับอิธิพลจากชาติตะวันตก เป็นขนมไทยที่ได้รับเอาวัฒนธรรมการทำอาหารจากต่างชาติ เป็นขนมหวาน จากไข่ ทองหอดทำอย่างไร ขนมไทย เมนูไข่ อาหารมงคลใช้ในขันหมาก ขนมง่ายๆ สูตรชาววัง ขนมหวานไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีมากมายหลายชนิด นับว่าเป็นขนมมงคลคู่งาน
ขนมทองหยอด ขนมไทยโบราณอีกชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมจนถึงปัจุบัน ขนมไทย เมนูนี้ สำหรับสาวๆที่กลัวอ้วนคงไม่ชอบแน่ แต่กินพอประมาณช่วยให้ร่ายกายกระปี้กระเป่า
แหล่งอ้างอิง
- https://th.wikipedia.org/wiki/ขนมไทย สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2567
- ตำราขนมหวาน. กทม. แสงแดด. 2539
- ส. พลายน้อย. เกร็ดย่อยร้อยเรื่อง. กทม. ดอกหญ้า. 2537
- วรดุลย์ ตุลารักษ์. วัฒนธรรมอาหารการกิน:ขนมไข่เหี้ย. ครัว. 4 (37) :88 – 89 กรกฎาคม 2540
- อบเชย อิ่มสบาย, บก. ตำรับขนมไทย. กทม. แสงแดด. 2539
- ฆนนกาล มาตยศิริ. กล้วยในขนมไทย. วัฒนธรรมไทย. 36 (4) : 16 -17, มกราคม 2542
- เฟื่อฟ้า เปียจำปา. อาหารคนเมือง ใน เชียงใหม่ หน้า 236 – 237. สุดารา สุจฉายา , บก. กทม. สารคดี. 2540
- ปาริชาติ เรืองวิเศษ. บก., แม่ฮ่องสอน. กทม. สารคดีม. 2536
- ยูร กมลเสรีรัตน์. ขนมอีสานเมื่อวันวาร. วัฒนธรรมไทย. 36 (4) : 42 – 43 มกราคม 2542
- ปาริชาติ เรืองวิเศษ. อาหารพื้นเมืองเลย. ใน เลย หน้า 173. สุดารา สุจฉายาม บก. กทม. สารคดี. 2539
- สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้. กทม. สถาบันทักษิณคดีศึกษา. 2523
- วันดี ณ สงขลา. อาหารไทยในวรรณคดี เล่ม 2. กทม. ผลิตภัณฑ์การพิมพ์. 2527