ขนมข้าวต้มหัวหงอก วิธีทำข้าวต้มหัวหงอกทำอย่างไร ขนมง่ายๆทำกินเองได้ ของหวานโบราณจากข้าวเหนียว เคล็ดลับความอร่อยของขนมเมนูนี้อยู่ตรงไหน ข้าวเหนียวนึ่งห่อกล้วย
อาหารไทยยอดนิยม สำหรับวันนี้ ขอนำเสนอ ขนมหวาน ขนมไทย เมนูข้าวเหนียว เมนูนึ่ง คือ ขนมข้าวต้มหัวหงอก เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่ข้าวเหนียวที่ใช้ในการนึ่ง เทคนิคการนึ่งข้าวเหนียว และ กล้วยที่นำมานึ่ง ข้าวเหนียวเนื้อเนียนๆหวานกล้วย หอมมะพร้าวขูด เหมาะสำหรับกินกับกาแฟร้อนๆ
ขนมข้าวต้มหัวหงอก เป็น ขนมไทย เมนูข้าวเหนียว ส่วนผสมและขั้นตอนการทำอาหารเข้าใจง่าย เหมาะสำหรับคนชอบ อาหาร เมนูข้าวเหนียว
ส่วนผสมสำหรับทำขนมข้าวต้มหัวหงอก
- ข้าวเหนียวเขี้ยวงู เก่า 1 กิโลกรัม
- กล้วยน้ำว้า 1 หวี
- มะพร้าวทึนทึก ขูด 1 ถ้วย
- น้ำตาลทราย 1 ขีด
- งาขาว 1 ถ้วยน้ำจิ้ม
- งาดำ 1 ถ้วยน้ำจิ้ม
- ถั่วดำ 1 ถ้วย
- เกลือ
- ใบตอง สำหรับ ห่อข้าวต้มมัด
วิธีทำขนมข้าวต้มหัวหงอก
- เตรียม ถัวดำ โดยการนำเอา ถัวดำ ไปต้ม ใช้เวลาประมาณ 15 นาที จากนั้นนำมาพักเอาไว้ก่อน
- เตรียม มะพร้าว โดยการนำ มะพร้าวขูด มา นึ่งในหม้อ นึ่งเดือดประมาณ 15 นาที โรยด้วยเกลือ จากนั้นนำมาพักเอาไว้ก่อน
- ล้าง ข้าวเหนียว ให้สะอาด จากนั้นนำไปแช่ในน้ำ 1 คืน จากนั้นนำไปนึ่ง ใช้เวลานึ่งในน้ำเดือดประมาณ 15 นาที จะได้ ข้าวเหนียว กึ่งสุกกึ่งดิบ
- เตรียม ใบตอง วางรองสัก 3 ชั้น จากนั้นนำมา ห่อข้าวเหนียว โดย วางข้าวเหนียวคลี่เป็นแผ่นจากนั้น นำ กล้วย วางตรงกลาง ข้าวเหนียว โรยถัวดำ จากนั้น ห่อใบตอง เป็น ทรงข้าวต้มมัด
- นำไปต้มในน้ำเดือดใช้เวลาประมาณ 15 นาที
- จากนั้น แกะใบตองจะได้ ข้าวต้มห่อหอมๆ ตัดเป็นชิ้นพอคำ นำมาคลุกกับมะพร้าวขูด
- จะได้ ขนมข้าวต้มหัวหงอก ทานคู่กับ น้ำตาลทราย ผสม งา เสร็จ เมนูขนมข้าวต้มหัวหงอก
เคล็ดลับการทำขนมข้าวต้มหัวหงอก
- ข้าวเหนียว ให้ใช้ ข้าวเหนียวเขี้ยวงูเก่า เนื่องจาก ข้าวเหนียวเขี้ยวงู เม็ดเรียงตัวสวย รสชาติดี และใช้ ข้าวเหนียวเก่า เนื่องจากขนมต้องผ่านกระบวนการ นึ่ง และต้ม หลายขั้นตอน ขนมจะไม่เละ
- การเตรียม ข้าวเหนียว ก่อนนึ่งให้ทำการล้างให้สะอาด โดยล้างเบา อย่าให้เมล็ดข้าวหัก ล้างจนน้ำใส จะได้ ข้าวเหนียว นึ่งที่ ไม่มีกลิ่น
- เพื่อให้ ข้าวเหนียว มีความหอม ให้แช่ด้วย น้ำใบเตย ด้วย ในตอนที่ แช่ข้าวเหนียว 1 คืน
- ถั่วดำ ที่ใช้ทำนั้น ไม่ต้องแช่น้ำก่อน ให้นำไปต้มเลย เนื่องจาก ถั่วดำ หากนำไปแช่น้ำก่อน เหมือนการเตรียม ถัวดำต้ม ทั่วไป หากนำมาทำ ขนมข้าวต้มหัวหงอก จะเละก่อนไม่น่ารับประทาน
- สำหรับ มะพร้าวขูด ให้นำไปนึ่งก่อน เพื่อให้ไม่บูดง่าย และ โรยเกลือ เพื่อให้ รสเค็มช่วยตัดความมันของเนื้อมะพร้าว
- การเตรียม เครื่องจิ้ม งา น้ำตาล นั้น ให้ โขรกงาขาวพอบุบ เนื่องจาก งาขาว เมื่อบุบ จะมีกลิ่นหอม เพิ่มความอร่อยของ ขนม
- การห่อใบตอง ข้าวต้มมัด เป็นขั้นตอนที่สำคัญ เนื่องจาก การห่อ ต้องห่อไม่ให้น้ำเข้าไปใน ข้าวเหนียว ในใบตอง
- การเลือก กล้วย ให้ใช้ กล้วยน้ำว้า ที่ไม่สุกเกินไปและไม่ห่ามเกินไป คือ ให้ กล้วยสุกพอดี จะได้ ขนมที่รสชาติพอดี และได้ กล้วยที่อร่อย เมื่อทำเสร็จ
nlovecooking.com รวบรวมสูตรอาหารต่างๆ เมนูอาหารที่เราอยากนำเสนอให้เพื่อนๆสำหรับคยต้องการทำอาหาร ซึ่งเน้นรายละเอียด ส่วนผสม วิธีทำ และ เคล็ดลับในการทำอาหารต่างๆ ซึ่งมีสูตรอาหารต่างๆ เช่น อาหารไทย อาหารจีน อาหารญี่ปุ่น และ อาหารเวียดนาม โดยการแยกสูตรอาหารต่างๆตามเทคนิคการทำอาหาร และ วััตถุดิบในการทำอาหาร เช่น เมนูผัด เมนูแกง เมนูทอด เมนูปิ้งย่าง เมนูนึ่ง เมนูตุ๋น เมนูยำ เมนูหมู เมนูไก่ เมนูปลา เมนูกุ้ง เมนูปลาหมึก เมนูไข่ รวมถึง น้ำจิ้ม น้ำพริก ขนมไทย อาหารเจ และ เครื่องดื่ม สำหรับสูตรอาหารที่เรานำเสนอ เราได้ทดสอบ ลองชิมรสชาติว่าอร่อยแล้ว แต่ความอร่อยของคนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ท่านจำเป็นต้องนำเอาไปปรับปรุงรสชาติให้ได้รสชาติที่ถูกใจท่านเอง สำหรับความอร่อยของอาหารแต่ละประเภทมีหลักการอยู่ง่ายๆ คือ หนึ่งวัตุถุดิบต้องมีคุณภาพ ความสด ความใหม่ของวัตถุดิบต่างๆมีความสำคัญ สองเทคนิคการเตรียมอาหาร ความเข้าใจในธรรมชาติของวัตถุดิบที่นำมาทำอาหาร อะไรสุกง่าย อะไรสุกยาก รสชาติพื้นฐานของวัตถุดิบนั้นๆ และ สามการปรุงรสชาติ ซึ่งการปรุงรสชาติสำคัญที่สุด รสชาติของอาหารที่จะอร่อยหรือไม่อยูู่ที่การปรุงรสให้ถูกปาก เราหวังว่าท่านจะประทับใจในสูตรอาหารต่างๆที่เรานำเสนอนี้
ขนมไทย เป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมด้านอาหาร ซึ่งความละเอียดอ่อนช้อยความประณีตตั้งแต่การเลือกสรรวัตถุดิบ วิธีการทำ การปรุงรสชาติ สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ที่ชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีที่ประณีตบรรจงต่าๆ ขนมไทย ส่วนใหญ่ทำมาจากข้าวและใช้ส่วนประกอบอื่นๆ เช่น สี ภาชนะ กลิ่นหอมจากธรรมชาติ ข้าวที่ใช้ในขนมไทยมีทั้งข้าวแบบเม็ดและข้าวที่อยู่ในรูปแป้ง นอกจากนั้นยังมีวัตถุดิบอื่นๆ เช่น มะพร้าว ไข่ น้ำตาล ขนมไทยมีส่วนร่วมในวิถีชีวิตไทยในทุกเทศกาลและโอกาสต่างๆ แสดงให้เห็นถึงความผูกพันและเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ขนมที่ใช้ในงานเทศกาลและพิธีกรรมต่างๆของไทยตลอดทั้งปี ขนมไทยยั้งได้รับอิทธิพลจากขนมของชาติอื่น มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นและวัตถุดิบที่หาได้ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนการบริโภคแบบไทย จนทำให้คนรุ่นหลัง แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมที่เป็นไทยแท้ และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมของชาติอื่นเป้นอย่างไร เช่น ขนมที่ใช้ไข่และขนมที่ต้องเข้าเตาอบ ซึ่งเข้ามาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากคุณท้าวทองกีบม้าภรรยาเชื้อชาติญี่ปุ่น-โปรตุเกสของเจ้าพระยาวิชเยนทร์ ผู้เป็นกงสุลประจำประเทศไทยในสมัยนั้น ไทยมิใช่เพียงรับทองหยิบ ทองหยอด และฝอยทองมาเท่านั้น หากยังให้ความสำคัญกับขนมเหล่านี้โดยใช้เป็นขนมมงคลอีกด้วย ส่วนใหญ่ตำรับขนมที่ใส่ไข่มักเป็น ขนมจากต่างประเทศ เช่น ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอดจากโปรตุเกส ฟักทองสังขยาเป็นหนึ่งในขนมไทย ทีมีส่วนผสมของฟักทองนึ่งใส่สังขยา
ขนมข้าวต้มหัวหงอก เป็น ขนมไทย เมนูแสนอร่อย อยู่ท้องดี หารับประทานยาก จึงอยากจะแนะนำให้เพื่อนๆ ได้ลองทำดู ขนมหวานไทย แบบโบราณ เป็น เมนูข้าวต้มมัด เป็น ขนมไทย จากข้าวเหนียว เคล็ดลับความอร่อยของ ขนมข้าวต้มหัวหงอก คืออะไร เคล็ดลับความอร่อย ของ ขนมไทย เมนูนึ่ง นี้คืออะไร มีกล้วยทำอะไรกินดี มี ข้าวเหนียวทำขนมอะไรได้บ้าง ขนมไทยจากข้าวเหนียว เมนูข้าวต้มหัวหงอก เป็น ขนมหวาน ที่มีวิธีการทำไม่ยุ่งยาก ขนมที่หวาน หอม นุ่ม กลมกล่อม มาจากอะไร ขนมข้าวต้มหัวหงอก ขนมข้าวต้มหัวหงอก ของหวานโบราณจากข้าวเหนียว สูตรขนมข้าวต้มหัวหงอก เคล็ดลับความอร่อยอยู่ที่ไหน ขนมไทย เมนูนึ่ง กล้วยทำอะไรกินดี ข้าวเหนียวนึ่งห่อกล้วย วิธีการทำไม่ยุ่งยาก
แหล่งอ้างอิง
- https://th.wikipedia.org/wiki/ขนมไทย สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2567
- ตำราขนมหวาน. กทม. แสงแดด. 2539
- ส. พลายน้อย. เกร็ดย่อยร้อยเรื่อง. กทม. ดอกหญ้า. 2537
- วรดุลย์ ตุลารักษ์. วัฒนธรรมอาหารการกิน:ขนมไข่เหี้ย. ครัว. 4 (37) :88 – 89 กรกฎาคม 2540
- อบเชย อิ่มสบาย, บก. ตำรับขนมไทย. กทม. แสงแดด. 2539
- ฆนนกาล มาตยศิริ. กล้วยในขนมไทย. วัฒนธรรมไทย. 36 (4) : 16 -17, มกราคม 2542
- เฟื่อฟ้า เปียจำปา. อาหารคนเมือง ใน เชียงใหม่ หน้า 236 – 237. สุดารา สุจฉายา , บก. กทม. สารคดี. 2540
- ปาริชาติ เรืองวิเศษ. บก., แม่ฮ่องสอน. กทม. สารคดีม. 2536
- ยูร กมลเสรีรัตน์. ขนมอีสานเมื่อวันวาร. วัฒนธรรมไทย. 36 (4) : 42 – 43 มกราคม 2542
- ปาริชาติ เรืองวิเศษ. อาหารพื้นเมืองเลย. ใน เลย หน้า 173. สุดารา สุจฉายาม บก. กทม. สารคดี. 2539
- สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้. กทม. สถาบันทักษิณคดีศึกษา. 2523
- วันดี ณ สงขลา. อาหารไทยในวรรณคดี เล่ม 2. กทม. ผลิตภัณฑ์การพิมพ์. 2527