น้ำพริก อาหารไทยยิดฮิต สูตรน้ำพริกมากกว่า 80 เมนูอาหาร พร้อมเคล็ดลับการทำอาหารแบบง่ายๆอร่อย เมนูน้ำพริกพื้นบ้านมีอะไรบ้าง ทำอย่างไร อาหารสำหรับคนรักน้ำพริก
น้ำพริก เป็น อาหารไทย ประเภทเครื่องจิ้ม นิยมรับประทานคู่กับผักสด คำว่า น้ำพริก อ่านออกเสียงว่า น้ำ-พิก เป็นอาหารที่มีส่วนประกอบหลัก คือ พริก เกลือ หอมแดง กระเทียม ข่า ตะไคร้ เป็นต้น และมีส่วนผสมอื่นๆ เช่น กะปิ ถั่วเน่า ปลาร้า มะเขือเทศ ข่า ตะไคร้ โดยนำส่วนผสมทั้งหมดมาโขลกรวมกันในครก น้ำพริกต่างๆ มีความแตกต่างกันออกไปตามวิธีการทำและเครื่องปรุงที่ใช้ในการปรุงน้ำพริก แต่อย่างไรก็ตาม น้ำพริกในแต่ละท้องถิ่น ยังมีความคล้ายคลึงกันอยู่อันเป็น เอกลักษณ์ของอาหารไทย คือ เป็นเครื่องจิ้ม นิยมทานกับข้าวสวยและผักสดๆ ไม่นิยมกินน้ำพริกเปล่า
ความเป็นมาของน้ำพริก
น้ำพริก คือ อาหารไทย มีมานานมากก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา คำว่า ” น้ำพริก ” ความหมายว่า การปรุงอาหาร ด้วย สมุนไพร ไม่ว่าจะเป็น พริก กระเทียม หัวหอม กะปิ น้ำตาล มะนาว มะกรูด ขิง ข่า ตะไคร้ เป็น เครื่องเทศ ที่มีกลิ่นหอมแรง นำมาโขรกรวมกัน ทานคู่กับข้าวสวยและผักสดๆ ในบางทีก้ผสมเนื้อสัตว์ต่างๆ ที่หาได้ตามท้องถิ่น ในสมัยก่อนคนไทยนิยมรับประทานสัตว์น้ำมากกว่าสัตว์บก น้ำพริก จึงมีปลาเป็นส่วนใหญ่ ต่อมามีการพัฒนานำเนื้อสัตว์ต่างมาปรุงอาหารเพื่ม น้ำพริก ยังได้รับความนิยมจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ความสำคัญของน้ำพริก
น้ำพริก อาหารไทย ตั้งแต่ก่อนที่ไทยจะได้รับอิทธิพล วัฒนธรรมการการกิน จากชาติต่างๆ น้ำพริก ถือเป็น อาหารหลักของคนไทย จะเห็นได้ว่า น้ำพริก มีความหลายหลายเมนู แทบจะทุกวัตถุดิบสามารถนำมาประยุกต์เป็น น้ำพริก ทั้งหมด น้ำพริกมะอะไรบ้าง มีทุกภาคในประเทศไทย ทั้ง เหนือ กลาง ใต้ อีสาน ตะวันออก และตะวันตก อาหารไทย 4 ภาค น้ำพริก มีทั้ง น้ำพริก ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ และภาคอีสาน
ประโยชน์ของน้ำพริก
สำหรับการกินน้ำพริก มีประโยชน์หลายหลาย สามารถสรุป ได้ดังนี้
- น้ำพริก ประกอบด้วยส่วนประกอบของสมุนไพร หลากหลาย พริก หอมแดง กระเทียม ข่า ตะไคร้ มะกรูด มะนาว ซึ่งให้คุณค่าด้านโภชนาการและการบำรุงร่างกาย
- ส่วนประกอบต่างๆของน้ำพริก ไม่มีน้ำตาลและไขมัน ซึ่งทำให้ไม่เกิดการสะสมของไขมันในร่างกาย
- การกินน้ำพริก นิยมกินคู่กับผักสดๆ ซึ่งกากใยอาหารสูง ช่วยเรื่องการขับถ่ายที่ดี
ความหลากหลายของน้ำพริก
- น้ำพริกภาคใต้ เรียกว่า น้ำชุบ โดยนิยมใช้ พริก หอมแดง และ กะปิ เป็นวัตถุดิบหลัก เอกลักษณ์ของน้ำพริกภาคใต้ คือ ไม่ใส่น้ำมะนาว หรือ น้ำตาล น้ำพริกภาคใต้ นิยมกินกับผักหลายชนิด
- น้ำพริกภาคเหนือ นิยมใช้เกลือ ปรุงรสเป็นวัตถุดิบหลัก เครื่องปรุงต้องย่างหรือเผาก่อน
- น้ำพริกภาคอีสาน นิยมใช้ปลาร้าและข้าวคั่ว เป็นส่วนผสมสำคัญ น้ำพริกแบบอีสาน มี 3 ชนิด คือ ป่น แจ่ว และ ซุบ
- ป่น ประกอบด้วย พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม ผสมกับปลา เห็ด หรือ เนื้อสัตว์อื่น โดยใส่น้ำปลาร้า
- แจ่วส่วนผสมหลัก คือ น้ำปลาร้าและพริก เพิ่มเครื่องปรุงอื่น เช่น หอมแดง กระเทียม ข่า ตะไคร้ เป็นต้น
- ซุบ พัฒนามาจากแจ่ว นำผักที่ใช้จิ้มแจ่วมาผสม แล้วเติมข้าวคั่ว ลงไป
ข้อดีของน้ำพริก
น้ำพริกเป็นเครื่องปรุงรสที่มีความนิยมในอาหารไทยมาก ๆ ซึ่งมีข้อดีต่อสุขภาพได้แก่ดังนี้
- ช่วยกระตุ้นระบบทางเดินอาหาร: น้ำพริกมีส่วนผสมของพริกขี้หนูหรือพริกแห้งที่มีสารแคปไซซิน ช่วยกระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้และระบบทางเดินอาหาร จึงช่วยลดอาการท้องผูกได้
- ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค: สารแคปไซซินภายในพริกมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและโรคมะเร็ง
- กระตุ้นการเผาผลาญพลังงาน: พริกมีส่วนผสมของกากเเพร์คลอรี่ที่ช่วยกระตุ้นการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักหรือควบคุมน้ำหนักตัวได้
- สร้างความเร็วในการเผาผลาญพลังงาน: สารแคปไซซินที่มีอยู่ในพริกช่วยกระตุ้นการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย ทำให้มีการเผาผลาญพลังงานได้เร็วขึ้น และช่วยลดการสะสมไขมันในร่างกายได้
- ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน: พริกมีส่วนผสมของวิตามินซี ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ข้อเสียของน้ำพริก
น้ำพริกเป็นอาหารที่มีปริมาณเกลือและน้ำตาลสูง ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อสุขภาพได้ดังนี้
- ความเค็มสูง: น้ำพริกมีปริมาณเกลือสูง ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อร่างกายหากมีการบริโภคเป็นประจำ การบริโภคน้ำพริกมากเกินไปอาจเป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ
- ปริมาณน้ำตาลสูง: น้ำพริกมีปริมาณน้ำตาลสูง ทำให้การบริโภคน้ำพริกมากเกินไปอาจทำให้เกิดภาวะเบาหวาน
- ความเผ็ดร้อน: น้ำพริกมีส่วนผสมของพริกที่มีรสเผ็ดร้อน การบริโภคน้ำพริกมากเกินไปอาจทำให้เกิดการระคายเคืองในทางเดินอาหาร
- ผู้ป่วยและผู้ที่มีอาการแพ้: น้ำพริกอาจเป็นสาเหตุของการเกิดอาการแพ้หรือการชักนำในบางราย การบริโภคน้ำพริกควรคำนึงถึงสุขภาพและอาการของตนเองด้วย
โทษของน้ำพริก
สำหรับการกินอาหาร หากบริโภคในลักษณะที่ไม่เหมาะสม อาจส่งผลเสียต่อร่างกายได้ โดยโทษของน้ำพริกมีดังนี้
- น้ำพริก หากปรุงรสเผ็ดเกินไป อาจทำให้เกิดการระคายเคืองที่ระบบทางเดินอาหาร ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบ อาจทำให้อาการหนักขึ้นได้
- การรับประทานน้ำพริกคู่กับผักสด หากผักสดไม่สะอาด มีสารเคมีเจือปน ก็ทำให้เกิดการสะสมของสารเคมีในร่างกาย ส่งผลเสียต่อร่างกายในอนาคตได้
- กะปิ เป็นส่วนประกอบหลักหนึ่งของ เมนูน้ำพริกต่างๆ หากปรุงอาหารเค็มเกินไป ทำให้ไตทำงานหนัก ส่งผลต่อสุขภาพได้
น้ำพริกเป็นเครื่องปรุงรสที่นิยมใช้ในอาหารไทยมากมาย โดยปกติแล้วน้ำพริกจะประกอบด้วยพริกขี้หนูหรือพริกแห้งที่ได้ผ่านการต้มสุก จากนั้นจึงปั่นพร้อมกับส่วนผสมอื่น ๆ เช่น กระเทียม หอมแดง น้ำปลา น้ำตาล มะนาว ฯลฯ เพื่อเพิ่มความเข้มข้นและรสชาติ ซึ่งจะทำให้ได้รับประสบการณ์การรับประทานอาหารที่อร่อยและเข้มข้นขึ้น
น้ำพริกนอกจากจะใช้เป็นเครื่องปรุงรสในอาหารไทยแล้ว ยังเป็นเครื่องปรุงรสที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพเช่นกัน เนื่องจากมีส่วนผสมของพริกที่มีสารแคปไซซินซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ สามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและโรคมะเร็งได้ นอกจากนี้ยังมีสารตัวอื่น ๆ ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่น วิตามินซี ซึ่งมีฤทธิ์ต้านเอ็นไซม์ที่เป็นปัจจัยทำให้เกิดการเสื่อมสภาพของเซลล์และฮอร์โมนความสมดุลไม่เสถียร ดังนั้นการรับประทานน้ำพริกอย่างเหมาะสมและมีสมดุลจะช่วยส่งเสริมสุขภาพได้อย่างดี
น้ำพริก เป็น อาหารไทย ที่มีมานานมาก สูตรน้ำพริก จึงถูกรังสรรค์มากมายต่างๆนานา สูตรน้ำพริก แบบง่ายๆ พร้อมวิธีทำ
น้ำพริก ถือเป็น อาหารไทย แท้ๆ วิธีทำน้ำพริก เรารวม สูตรน้ำพริก พร้อม เคล็ดลับการทำน้ำพริก เมนูน้ำพริก เป็น อาหารไทยแท้ น้ำพริกทำอย่างไร น้ำพริก อาหารไทยพื้นบ้าน เช่น น้ำพริกกะปิ น้ำพริกปลาร้า น้ำพริกนรก น้ำพริกแมงดา เมนูน้ำพริก สำหรับคนรัก อาหารเมนูน้ำพริก
น้ำพริก เป็น อาหารไทย ที่มีมานานมาก สูตรน้ำพริก จึงถูกรังสรรค์มากมายต่างๆนานา บางคนเขีนยผิดเป็น สูตรน้ําพริก หรือ สูตร น้ำพริก แต่ เมนูน้ำพริก หรือ เมนูน้ําพริก ก็เป็น อาหาร ถูกปากคนคนจริงๆ สูตรน้ำพริกต่างๆ จึงได้แพร่หลาย
แหล่งอ้างอิง
- อาหารการกินแห่งลุ่มทะเลสาบ. สงขลา: เครือข่ายสตรีรอบทะเลสาบสงขลา. 2551. หน้า 104-105
- “ครัวคุณต๋อย”. ช่อง 3. 19 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-31. สืบค้นเมื่อ 19 December 2014.
- รัตนา พรหมพิชัย, 2542, 3247; ศรีวรรณ จำรัส, สัมภาษณ์, 14 มิถุนายน 2550, ศิริพร โปร่งคำ, สัมภาษณ์, 21 มิถุนายน 2550
- นงเยาว์ วิริยะ, สัมภาษณ์, 2 กรกฎาคม 2550 http://lannainfo.library.cmu.ac.th/lannafood/detail_lannafood.php?id_food=80
- จริยา เดชกุญชร. อาหารไทยภาคอีสาน. กทม. เพชรในเรือน. 2552