ตำถั่วฝักยาว อาหารอร่อยๆ ส้มตำใส่ถั่วฝักยาว วิธีทำตำถั่วฝักยาวทำอย่างไร อาหารง่ายๆทำกินเองได้ เคล็ดลับความอร่อยตำถั่ว คือ วัตถุดิบ เทคนิคการตำและการปรุงรสชาติ
สูตรอาหารยอดนิยม เมนูอาหารอร่อย อาหารแนะนำสำหรับวันนี้ ขอนำเสนอ ส้มตำ แต่เปลี่ยนจากเส้นมะละกอเป็นถั่วฝักยาว เรียกสั้นๆ ว่า ตำถั่วฝักยาว เคล็ดลับความอร่อยของอาหารเมนูนี้ อยู่ที่ วัตถุดิบคุณภาพ เทคนิคการเตรียมอาหาร และ การปรุงรสชาติ
ตำถั่วฝักยาว อาหารไทย เมนูง่ายๆ ส่วนผสมและขั้นตอนการทำอาหารเข้าใจง่าย เหมาะสำหรับคนรักการทำอาหาร เมนูส้มตำ
ส่วนผสมสำหรับทำตำถั่วฝักยาว
- ถั่วฝักยาว หั่นเป็นท่อน 1 ถ้วย
- กระเทียม บด 1 ช้อนโต้ะ
- พริก บด 2 ช้อนโต้ะ
- น้ำตาลปี๊บ 1 ช้อนโต้ะ
- น้ำปลา 1 ช้อนโต้ะ
- น้ำมะนาว 1 ช้อนโต้ะ
- มะเขือเทศ หั่นชิ้น 2 ลูก
- น้ำปลาร้า 1 ช้อนโต้ะ
วิธีทำตำถั่วฝักยาว
- นำครก โขรก กระเทียม และ พริก จากนั้น ปรุงรสด้วย น้ำตาล น้ำปลา น้ำปลาร้า และ น้ำมะนาว ผสมให้ส่วนผสมเข้ากัน
- ใส่ ถั่วฝักยาว และ มะเขือเทศ ลงไป โขรกให้พอบุบแตก ไม่ต้องให้ละเอียดมาก ชิมรสตามใจชอบ เสริฟใส่จาน กับข้าวง่ายๆ เมนูยำ
เคล็ดลับการทำตำถั่วฝักยาว
- ตำถั่วฝักยาว ไม่นิยมตำถั่วฝักยาวจนแหลก ให้เหลือ เนื้อถั่วฝัดยาวบ้าง
- พริก ที่ใช้ในการทำ ตำถั่ว เราใช้ พริกขี้หนูสวน ผสส กับ พริกชี้ฟ้า แต่สำหรับบางคน ไม่ชอบกลิ่นเหม็นเขียวของพริก ก็สามารถใช้ พริกแห้งแทนได้ ได้ความเผ็ด เหมือนกัน ในขณะที่ไม่เหม็นเขียว
- น้ำตาล เราแนะนำให้ใช้ น้ำตาลปี๊บ เนื่องจาก น้ำตาลปี๊บ มีความหวาน ที่พอดี สำหรับ เมนูส้มตำ
- กระเทียม สำหรับ ทำส้มตำ ให้เลือกใช้ กระเทียมไทย เนื่องจาก กระเทียมไทย มีกลิ่นหอม เหมาะสำหรับทำส้มตำ
- น้ำปลาร้า ส่วนมาก จะเป็น น้ำปลาร้าที่มีการปรุงรส ไม่นิยมใช้ น้ำปลาร้าสดๆ ในการนำมาทำส้มตำเลย โดย น้ำปลาร้า ให้ นำมาต้มให้สุก เคี้ยว กับ น้ำกระเทียมดอง จะทำให้ น้ำปลาร้านัว มากขึ้น
- มะเขือเทศ ไม่ควรตำ จนแหลก ให้มีความเป็น เนื้อของมะเขือ ให้ดูน่ารับประทาน หรือ บางสูตรใช้ มะเขือเทศราชินี ใส่เลย โดย ใช้วิธีการนำมาคลุก กับส้มตำเลย ไม่ต้องตำให้แตก ก็ได้ความอร่อยไปอีกแบบ
nlovecooking.com รวบรวมสูตรอาหารต่างๆ เมนูอาหารที่เราอยากนำเสนอให้เพื่อนๆสำหรับคยต้องการทำอาหาร ซึ่งเน้นรายละเอียด ส่วนผสม วิธีทำ และ เคล็ดลับในการทำอาหารต่างๆ ซึ่งมีสูตรอาหารต่างๆ เช่น อาหารไทย อาหารจีน อาหารญี่ปุ่น และ อาหารเวียดนาม โดยการแยกสูตรอาหารต่างๆตามเทคนิคการทำอาหาร และ วััตถุดิบในการทำอาหาร เช่น เมนูผัด เมนูแกง เมนูทอด เมนูปิ้งย่าง เมนูนึ่ง เมนูตุ๋น เมนูยำ เมนูหมู เมนูไก่ เมนูปลา เมนูกุ้ง เมนูปลาหมึก เมนูไข่ รวมถึง น้ำจิ้ม น้ำพริก ขนมไทย อาหารเจ และ เครื่องดื่ม สำหรับสูตรอาหารที่เรานำเสนอ เราได้ทดสอบ ลองชิมรสชาติว่าอร่อยแล้ว แต่ความอร่อยของคนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ท่านจำเป็นต้องนำเอาไปปรับปรุงรสชาติให้ได้รสชาติที่ถูกใจท่านเอง สำหรับความอร่อยของอาหารแต่ละประเภทมีหลักการอยู่ง่ายๆ คือ หนึ่งวัตุถุดิบต้องมีคุณภาพ ความสด ความใหม่ของวัตถุดิบต่างๆมีความสำคัญ สองเทคนิคการเตรียมอาหาร ความเข้าใจในธรรมชาติของวัตถุดิบที่นำมาทำอาหาร อะไรสุกง่าย อะไรสุกยาก รสชาติพื้นฐานของวัตถุดิบนั้นๆ และ สามการปรุงรสชาติ ซึ่งการปรุงรสชาติสำคัญที่สุด รสชาติของอาหารที่จะอร่อยหรือไม่อยูู่ที่การปรุงรสให้ถูกปาก เราหวังว่าท่านจะประทับใจในสูตรอาหารต่างๆที่เรานำเสนอนี้
ส้มตำ อาหารไทยประเภทยำ การปรุงรสของส้มตำจะเปรี้ยว หวาน เค็มและเผ็ดพอดี ได้รับความนิยมในภาคอีสาน เรียกว่า ตำหมากหุ่ง มะละกอดิบสับเป้นเส้นตำในครกเป็นหลัก พร้อมด้วยวัตถุดิบอื่น ๆ คือ มะเขือเทศลูกเล็ก มะเขือสีดา มะเขือเปราะ พริกสดหรือพริกแห้ง ถั่วฝักยาว กระเทียม และปรุงรสด้วยน้ำตาลปี๊บ น้ำปลา และมะนาว ส้มตำมีหลาย เมนู ตำถั่ว ก็เป็น อีกหนึ่ง เมนูส้มตำ สำหรับใครหลายๆ คน ส้มตำที่อร่อย วัตถุดิบต้องสด การปรุงรสต้องพอดี จึงจะได้ ปัจจุบันมีการนำส้มตำไปเป็นอาหารหลากหลายโดยยังคงส่วนประกอบหลักแต่เปลี่ยนแปลงหน้าตา เช่น นำมะละกอไปทอด เรียกว่า ส้มตำกรอบ หรือนำส้มตำไปใช้ราดแทนน้ำยำตามปกติ แต่ไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบใดก็ตาม หากยังคงรสชาติและวัตถุดิบในการทำก็ยังคงมีการใช้คำว่าส้มตำ อยู่เสมอ หรือแม้กระทั้งเมนูนี้ ก็เป็นการใช้ถั่วฝักยาวแทนมะละกอ เรียก ตำถั่วฝักยาว
ตำถั่วฝักยาว ส้มตำที่ใส่ถั่วฝักยาวแทนเส้นมะละกอ วิธีทำตำถั่วฝักยาว ง่ายๆ ตำถั่วฝักยาว เป็น อาหารอีสาน ถั่วฝักยาวทำอะไรกินได้บ้าง เคล็ดลับความอร่อยของตำถั่ว คือ วัตถุดิบที่สดใหม่ เทคนิคการตำ และ การปรุงรสชาติ
แหล่งอ้างอิง
- Gervaise 1688, la Loubere 1693.
- ธงชัย ลิขิตพรสวรรค์, ส้มตำ : ความเป็นมาที่ถูกใจคนไทย สโมสรศิลปวัฒนธรรม
- https://bowwyyuiyee.wordpress.com/homepage/ สืบค้นเมื่อ 2014-11-25.
- “ส้มตำแก่นตะวัน”. healthandcuisine.com. 5 March 2014. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
- Gervaise, Nicolas (1989, originally published 1688) The Natural and Political History of the Kingdom of Siam. Bangkok. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร
- จดหมายเหตุลาลูแบร์ พงศาวดารสยามครั้งกรุงศรีอยุธยา แผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กรมหมื่นนราธิปประพันธ์พงศ์, ผู้แปล